The moment when, 50 years ago, Neil Armstrong planted his foot on the surface of the Moon inspired awe, pride and wonder around the world. This newspaper argued that “man, from this day on, can go wheresoever in the universe his mind wills and his ingenuity contrives…to the planets, sooner rather than later, man is now certain to go.” But no. The Moon landing was an aberration, a goal achieved not as an end in itself but as a means of signalling America’s extraordinary capabilities. That point, once made, required no remaking. Only 571 people have been into orbit; and since 1972 no one has ventured much farther into space than Des Moines is from Chicago.
The next 50 years will look very different. Falling costs, new technologies, Chinese and Indian ambitions, and a new generation of entrepreneurs promise a bold era of space development. It will almost certainly involve tourism for the rich and better communications networks for all; in the long run it might involve mineral exploitation and even mass transportation. Space will become ever more like an extension of Earth—an arena for firms and private individuals, not just governments. But for this promise to be fulfilled the world needs to create a system of laws to govern the heavens—both in peacetime and, should it come to that, in war.
The development of space thus far has been focused on facilitating activity down below—mainly satellite communications for broadcasting and navigation. Now two things are changing. First, geopolitics is stoking a new push to send humans beyond the shallows of low-Earth orbit. China plans to land people on the Moon by 2035. President Donald Trump’s administration wants Americans to be back there by 2024. Falling costs make this showing off more affordable than before. Apollo cost hundreds of billions of dollars (in today’s money). Now tens of billions are the ticket price.
[ … ]
It is a mistake to promote space as a romanticised Wild West, an anarchic frontier where humanity can throw off its fetters and rediscover its destiny. For space to fulfil its promise governance is required. At a time when the world cannot agree on rules for the terrestrial trade of steel bars and soybeans that may seem like a big ask. But without it the potential of all that lies beyond Earth will at best wait another 50 years to be fulfilled. At worst space could add to Earth’s problems. | Winning entries could not be determined in this language pair.There was 1 entry submitted in this pair during the submission phase. Not enough entries were submitted for this pair to advance to the finals round, and it was therefore not possible to determine a winner.
Competition in this pair is now closed. |
วินาทีที่ นีล อาร์มสตรอง ได้ประทับรอยเท้าของตนลงบนพื้นผิวดวงจันทร์เมื่อ 50 ปีก่อน ได้สร้างความน่าเกรงขาม ความภาคภูมิ และความอัศจรรย์ใจไปทั่วหล้า หนังสือพิมพ์ฉบับนี้ได้ตั้งข้อถกเถียงว่า “นับแต่วันนี้ไป มนุษยชาติย่อมสามารถไปยัง ณ ที่แห่งหนใดในจักรวาลตามแต่ใจปรารถนาและเท่าที่สติปัญญาจะคิดค้นหาหนทาง.. ในอีกไม่ช้า ไปยังเหล่าดาวเคราะห์อื่น ที่ซึ่ง ณ วันนี้มนุษย์หมายจะไปให้ถึงได้อย่างแน่นอน” แต่เปล่าเลย การลงจอดบนดวงจันทร์เป็นการเบี่ยงเบนอย่างหนึ่ง เป้าหมายที่บรรลุไม่ใช่จุดสิ้นสุดของการเดินทาง แต่เป็นวิธีการส่งสัญญาณบอกถึงขีดความสามารถที่เหนือชั้นของประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อบรรลุจุดประสงค์นั้นแล้วจึงไม่จำเป็นต้องทำซ้ำอีก มีมนุษย์เพียง 571 คนที่ได้อยู่ในวงโคจรรอบโลก และนับจากปี 1972 เป็นต้นมา ยังไม่มีใครเลยที่ได้ดั้นด้นออกสู่อวกาศไปไกลเกินกว่าระยะทางจากเมืองดิมอยน์ถึงชิคาโก ในอีก 50 ปีข้างหน้า อะไร ๆ จะดูต่างไปกว่านี้อีกมาก ด้วยต้นทุนที่กำลังดิ่งลง, เทคโนโลยีสมัยใหม่, ความมุ่งมั่นของประเทศจีนกับประเทศอินเดีย และเหล่าผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ย่อมคาดหวังได้ถึงยุคสมัยแห่งการพัฒนาทางด้านอวกาศ มีความเป็นไปได้อย่างยิ่งว่าจะครอบคลุมไปถึงการท่องเที่ยวสำหรับคนร่ำรวย และโครงข่ายโทรคมนาคมที่ดีขึ้นสำหรับทุกคน ในระยะยาวแล้วอาจรวมไปถึงการสำรวจแหล่งทรัพยากร แม้จนกระทั่งระบบขนส่งมวลชน อวกาศจะกลายเป็นเสมือนส่วนขยายของพื้นโลก เป็นสนามแข่งของบรรดาองค์กรธุรกิจและภาคเอกชน มิใช่เพียงสำหรับรัฐบาลเท่านั้น แต่การที่ภาพอนาคตเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้จริงนั้น โลกมนุษย์จำเป็นต้องสร้างระบบกฎหมายเพื่อปกครองโลกสวรรค์ ทั้งในยามสงบและในยามสงคราม-หากแม้นว่ามันจะเกิดขึ้น การพัฒนาด้านอวกาศที่ผ่านมายาวนานนั้นมุ่งเน้นด้านการสนับสนุนกิจกรรมของโลกเบื้องล่าง โดยหลัก ๆ แล้ว ได้แก่ดาวเทียมโทรคมนาคมสำหรับการถ่ายทอดสดและการนำวิถี แต่ตอนนี้มีสองสิ่งที่กำลังเปลี่ยนไป อย่างแรก, ปัจจัยด้านภูมิรัฐศาสตร์ได้สร้างแรงผลักดันใหม่ให้ส่งมนุษย์ขึ้นไปสูงกว่าวงโคจรรอบโลกในระดับต่ำ ประเทศจีนวางแผนจะส่งมนุษย์ไปเหยียบดวงจันทร์ภายในปี 2035 ฝ่ายคณะบริหารของประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ ก็ต้องการให้คนอเมริกันกลับไปเหยียบที่นั่นอีกครั้งภายในปี 2024 ด้วยต้นทุนที่กำลังร่วงต่ำลงมาทำให้การอวดศักดาเช่นนี้ดูท่าว่าพอจะจ่ายไหวกว่าเมื่อสมัยก่อน โครงการอพอลโลในอดีตมีค่าใช้จ่ายนับแสนล้านดอลลาร์เมื่อเทียบเป็นค่าเงินปัจจุบัน แต่ค่าตั๋วเดินทางไปดวงจันทร์สมัยนี้เหลือเพียงแค่หลักหมื่นล้าน [ … ] เป็นความผิดพลาดที่จะส่งเสริมภาพอวกาศให้เหมือนการผจญภัยบุกแดนเถื่อนตะวันตก พรมแดนที่ไร้กฎระเบียบ ที่ซึ่งมนุษย์จะสละพันธนาการทั้งปวงและได้ค้นพบจุดมุ่งหมายในชีวิตอีกครั้ง การจะบรรลุภาพหวังของอวกาศนั้นจำเป็นต้องมีการกำกับควบคูมดูแล ซึ่งดูจะเป็นการขอที่มากไป ในเมื่อภาคพื้นโลกทุกวันนี้ยังไม่สามารถบรรลุข้อตกลงกฎเกณฑ์การซื้อขายแลกเปลี่ยนระหว่างเหล็กเส้นกับถั่วเหลือง แม้นหากปราศจากสิ่งนั้น อย่างดีที่สุดทุกภาพความใฝ่ฝันที่เฝ้าคอยอยู่ห่างจากโลกจะต้องรออีก 50 ปี จึงจะสำเร็จสมปรารถนา หรืออย่างเลวร้ายที่สุด อวกาศนั้นเองจะสร้างปัญหาเพิ่มให้กับโลก | Entry #27203 — Discuss 0 — Variant: Not specifiednone
|